top of page

อาจารย์ ดร.วีรยุทธ ศรีทุมสุข

ประธานศูนย์ SIRCOP และ
ประธานฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม

ประวัติการศึกษา

2548   พยาบาลศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1) วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีจังหวัดนนทบุรี

2552   วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (กายวิภาคศาสตร์และชีววิทยาโครงสร้าง หลักสูตรนานาชาติ) คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

2564   Doctor of Science in Nursing (Gerontological Nursing), Graduate School of Medicine, Osaka University, Japan

 
ประวัติการอบรม/สัมมนา/ประชุมวิชาการทางด้าน simulation

2565   อบรม Simulation Instructor Training (SITC) Course ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีกรุงเทพ

2565   อบรม Simulation-based Learning (SBL) Course ณ คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

2565   อบรม Thai-SSH Faculty Training Course ณ วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า

2565   อบรมหลักสูตรผู้ตรวจประเมินห้องปฏิบัติการในรูปแบบ Peer Evaluation ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2566 อบรม Sim Faculty for Nursing and Health Science ณ โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ต ดอนเมือง กรุงเทพ

2566 ประชุมวิชาการเรื่อง "The 1st conference and contest on simulation-based learningfor transforming nursing education"

ณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

2566 อบรม ความรู้พื้นฐานของการจัดสอบ OSCE ในโรงเรียนวิทยาศาสตร์สุขภาพ ณ ศูนย์ SHEE คณะแพทยศาสตร์

ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

2566 อบรม Fundamental Simulation Instructional Methods (FunSIM) ณ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2566 อบรม สถานการณ์เสมิอนจริงสำหรับการจัดการเรียนการสอนทางการพยาบาล ณ คณะพยาบาลศาสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

 
งานวิจัยที่สนใจ

Simulation-based Education, Stroke, Home Health Care & Long-Term Care, Frailty and Sarcopenia

 
รางวัลที่เคยได้รับ

2564    รางวัลสถานการณ์จำลองเสมือนจริง (Reality Scenario Award) จากการประกวด Simulation-Based Learning Award

ครั้งที่ 1 จัดโดย คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

2564    รางวัลสถานการณ์จำลองขวัญใจผู้ร่วมงาน (Popular Vote Scenario Award) จากการประกวด Simulation-Based

Learning Award ครั้งที่ 1 จัดโดย คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช

2566 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 การแข่งขันการจัดการเรียนการสอนด้วยสถานการณ์จำลองเสมือนจริง ครั้งที่ 1

ณ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

 
ผลงานวิจัยตีพิมพ์
ระดับนานาชาติ

15. Kotalux C., Kensakoo T., & Srithumsuk W. (2022). A Study of Nursing Outcome Quality Indicators for Ischemic

Stroke Patients Receiving Thrombectomy Treatment. Belitung Nursing Journal. 8(6). 491-496. (IF=0.450; SCOPUS Q4)  

14. Klinpudtan N., Allsopp RC., Kabayama M,….Srithumsuk W.,…., Kamide K. (2022). The Association between

Longevity Associated FOXO3 Allele and Heart Disease in Septuagenarians and Octogenarians: The SONIC Study. The Journal of Gerontology: Series A. 77(8). 1542-1548. (IF=6.053; Tier 1; SCOPUS Q1)  

13. Phimha S., Patchasuwan NH., Banchonhattakit P., Rattanapitoon NK., Nilnate N., Srithumsuk W., Heebkaew S.

(2022). School-Based Health Literacy Model Development using   Participatory Action Research for Liver Fluke Prevention and Control. Asia Pacific Journal of Cancer Prevention. 23(4). 1177-1183. (SCOPUS Q2)   

12. Akagi Y., Kabayama M., Yasuyuki G.,….Srithumsuk W.,…., Kamide K. (2022). Alcohol Drinking Patterns

Have a Positive Association with Cognitive Function among Older People: A Cross-Sectional Study. BMC Geriatrics. 22:158. 1-9. (IF=3.921; SCOPUS Q1)

11. Thummapol O., Srithumsuk W., & Park T. (2022). A Scoping Review of Experiences and Needs of Older LGBTI

Adults in Asia. Journal of Gay & Lesbian Social Services. 1-12. (IF=1.113; SCOPUS Q2)

10. Srithumsuk W., Chaleoykitti S., Jaipong S., Kattiya P., & Pattayakorn P. (2021). Association between Depression

and Medication Adherence in Stroke Survivor Older Adults. Japan Journal of Nursing Science. 18(3). (IF=0.806; SCOPUS Q2)

9. Klinpudtan N., Kabayama M., Godai K.,….Srithumsuk W.,…., Kamide K. (2021). Association between Physical

Function and Onset of Coronary Heart Disease in a Cohort of Community-Dwelling Older Populations:

The SONIC Study. Archives Gerontology and Geriatrics. 95: 104386. (IF=2.128; SCOPUS Q1)

8. Srithumsuk W., Prachusilpa G., Thummapol O., & Kasemsuk W. (2021). A study of home health care nursing

outcomes quality indicators for older people in Thailand using Delphi technique. Home Healthcare Now. 39(3). 154-159. (SCOPUS Q3)

7. Srithumsuk W., Wangnum K. (2021). ‘New Normal’ Home Chemotherapy in Thailand: How to Challenging Roles

of Nurses are Changing?. Asia-Pacific Journal of Oncology Nursing. 8:   340-343 (IF=0.280; SCOPUS Q3)

6. Srithumsuk W., Kabayama M., Godai K., Klinpudtan N., Sugimoto K., Akasaka H., Takami Y., Takeya Y.,

Yamamoto K., Yasumoto S., Gondo Y., Arai Y., Masui Y., Ishizaki T., Shimokata H., Rakugi H., Kamide K. (2020). Association between Physical Function and Long-Term Care in Community-Dwelling Older and Oldest People: The SONIC Study. Environmental Health and Preventive Medicine. 25(1):46. (IF=1.568; SCOPUS Q2)

5. Kabayama M., Kamide K., Gondo Y.,….Srithumsuk W.,…., Hiromi Rakugi. (2020). The association of

blood pressure with physical frailty and cognitive function in community-dwelling septuagenarians, octogenarians, and nonagenarians: the SONIC study. Hypertension Research. (IF=2.941; SCOPUS Q2)  

4. Klinpudtan N., Kabayama M., Gondo Y., Masui Y., Akagi Y., Srithumsuk W., Kiyoshige E., Godai K.,

Sugimoto K., Akasaka H., Takami Y., Takeya Y., Yamamoto K., Ikebe K., Yasumoto S., Ogawa M., Inagaki H., Ishizaki T., Rakugi H., Kamide K. (2020). The Association between heart diseases, social factors, and physical frailty in community-dwelling older populations: The Septuagenarians, Octogenarians, Nonagenarians Investigation with Centenarians study. Geriatrics & Gerontology International. 20(10). 974-979. (IF=2.022; SCOPUS Q1)

3. Chaleoykitti S., Srithumsuk W., Jaipong S., Pattayakorn P., Podimuang K. (2020). Association between Clinical

Characteristics and Quality of Life in Older People with Stroke at    Hospital Discharge. Advances in Aging Research. 9(4). 67-76. (Web of Science)

2. Srithumsuk W., Kabayama M., Gondo Y., Masui Y., Akagi Y., Klinpudtan N., Kiyoshige E., Godai K.,

Sugimoto K., Akasaka H., Takami Y., Takeya Y., Yamamoto K., Ikebe K., Ogawa M., Inagaki H., Ishizaki T., Arai Y., Rakugi H., Kamide K. (2020). The Importance of Stroke as a Risk Factors of Cognitive Decline in Community Dwelling Older and Oldest peoples: The SONIC Study. BMC Geriatrics. 20. 24. (IF=3.02; SCOPUS Q1)

1. Godai K., Kabayama M., Gondo Y.,….Srithumsuk W.,…., Kamide K. (2020). Day-to-Day Blood Pressure Variability

is Associated with Lower Cognitive Performance among the Japanese Community-Dwelling Oldest-Old Population: the SONIC Study. Hypertension Research. 43(5). 404-411. (IF=2.941; SCOPUS Q2)  


ระดับชาติ

17. นงลักษณ์ กลิ่นพุดตาล, สิชล ทองมา, นันทิกานต์ กลิ่นเชตุ, & วีรยุทธ ศรีทุมสุข. (2565). บทบาทพยาบาลในการดูแล

ผู้สูงอายุที่บ้านที่มีภาวะเปราะบาง. วารสารพยาบาลทหารบก. 23(2). 50-57.

16. Thummapol O., Sanitnarathorn P., Thongma S., Srithumsuk W., & Tunthanongsakkul D. (2022). What Influences

Thai Community-Dwelling Older Adults to Undertaken Health Protective Behaviors in the Time of COVID-19

Pandemic?. Naresuan University Journal: Science and Technology. 30(2). 87-98.

15. จุฬาพร กระเทศ, ณัฏฐญา พัฒนะวาณิชนันท์, วรารัตน์ ประทานวรปัญญา, วินัย ไตรนาทถวัลย์, ปราโมทย์ ถ่างกระโทก, &

วีรยุทธ ศรีทุมสุข. (2564). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข.

วารสารวิชาการสาธารณสุข. 30(3). 561-573.

14. สิชล ทองมา, นงลักษณ์ กลิ่นพุดตาล, ศิริพร สว่างจิตร, จุฑารัตน์ บันดาลสิน, & วีรยุทธ ศรีทุมสุข. (2564). บทบาทพยาบาล

ในการดูแลผู้สูงอายุที่บ้านที่มีภาวะมวลกล้ามเนื้อน้อย. วารสารพยาบาลทหารบก. 22(1). 65-73.

13. ธัญพิมล เกณสาคู, เตือนใจ สินอำไพสิทธิ์, & วีรยุทธ ศรีทุมสุข. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคงอยู่ในองค์กรของ

พยาบาลวิชาชีพ สถาบันประสาทวิทยา สังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. วารสารกรมการแพทย์. 45(4).

167-174.

12. ธัญพิมล เกณสาคู & วีรยุทธ ศรีทุมสุข. (2563). การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพในการพยาบาล

ผู้ป่วยระบบประสาทวิทยา สถาบันประสาทวิทยา. วารสารพยาบาลทหารบก. 21(3). 340-349.

11. ธัญพิมล เกณสาคู, เตือนใจ สินอำไพสิทธิ์, & วีรยุทธ ศรีทุมสุข. (2563). ประสิทธิผลของแนวปฏิบัติการพยาบาลการ

วางแผนจำหน่ายต่อความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน การกลับเข้ารักษาซ้ำในโรงพยาบาล และคุณภาพ

ชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองชนิดตีบตัน. วารสารพยาบาลทหารบก. 21(3). 215-224.

10. สายทิพย์ จ๋ายพงษ์, วีรยุทธ ศรีทุมสุข, พรนภา เจริญสันต์, ศิริรัตน์ จำนงค์จิตต์, จงสฤษฎ์ มั่นศิล, & สุพรรณิกา ปานศรี.

(2563). การศึกษาความรุนแรง การรับรู้ความรุนแรงของโรคต่อระยะเวลามาถึงโรงพยาบาลของญาติผู้ป่วย

โรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน. วารสารพยาบาลทหารบก. 21(2). 273-285.

9. วีรยุทธ ศรีทุมสุข, สายทิพย์ จ๋ายพงษ์, กันยพัชร์ เศรษฐ์โชฎึก, นันทวรรณ ธีระวงศา, & ณัฐกร นิลเนตร. (2563).

ปัจจัยทำนายความต้องการของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะหลังเฉียบพลันรายใหม่. วารสารพยาบาล

สภากาชาดไทย. 13(2). 144-158.

8. วรัฎฐา เหมทอง & วีรยุทธ ศรีทุมสุข. (2563). ผลของการใช้ภาพเคลื่อนไหวสามมิติต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา

กายวิภาคศาสตร์ระบบหัวใจของนักศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน. 26(1). 94-103.

7. วีรยุทธ ศรีทุมสุข & อรอุมา ธรรมผล. (2563). การวัดความดันโลหิตที่บ้าน: บทบาทพยาบาลการจัดการควบคุม

ความดันโลหิตในกลุ่มบุคคลได้รับยาความดันโลหิตสูง. วารสารพยาบาลทหารบก. 21(1). 35-45.

6. จิตรรดา พงศธราธิก, วีรยุทธ ศรีทุมสุข, ณฐกร นิลเนตร, บุญตา กลิ่นมาลี, บวรจิต เมธาฤทธิ์, & อรุณรัตน์ หวังถนอม.

(2562). รูปแบบการสร้างเสริมการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมของผู้สูงอายุตำบลบ้านหม้อ อำเภอเมือง

จังหวัดเพชรบุรี. วารสารพยาบาลทหารบก. 20(2). 150-159.

5. วีรยุทธ ศรีทุมสุข, ชัยยุทธ โคตะรักษ์, สุภลักษณ์ นอใส, & พรชัย จูลเมตต์. (2562). บทบาทพยาบาลในการป้องกันภาวะ

แทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับการรักษาผ่านสายสวนหลอดเลือด. วารสารพยาบาล

ทหารบก. 20(1). 47-55.

4. สายทิพย์ จ๋ายพงษ์ & วีรยุทธ ศรีทุมสุข. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ปัจจัยเสี่ยง อาการเตือนและการจัดการใน

ภาวะฉุกเฉินโรคหลอดเลือดสมองของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดเพชรบุรี. วารสารวิทยาลัย

พยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์. 10(2). 44-56.

3. อัญเชิญ ชัยล้อรัตน์ & วีรยุทธ ศรีทุมสุข. (2560). ผลของการอบรมการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของพยาบาลวิชาชีพต่อ

ความรู้ ทัศนคติในการดูแลผู้ป่วยโรคระบบประสาทระยะสุดท้าย. วารสารวิจัยทางการพยาบาลและวิทยาศาสตร์

สุขภาพ. 1(1). 

2. วีรยุทธ ศรีทุมสุข, อัญเชิญ ชัยล้อรัตน์, & ธัญพิมล เกณสาคู. (2558). การศึกษาคุณภาพชีวิตของผู้ดูแลผู้ป่วย

โรคหลอดเลือดสมองกลับเป็นซ้ำ. วารสารสมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย. 14(3) (พิเศษ 1). S1.

1. วาริณี ด้วงเงิน, ภัชราภร บุญรักษ์ & วีรยุทธ ศรีทุมสุข. (2558). การพัฒนาระบบบันทึกทางการพยาบาลในผู้ป่วยผ่าตัด

กระดูกสันหลังตั้งแต่แรกรับจนจำหน่าย. วารสารกองการพยาบาล. 42(1). 6-20.  

 
ประวัติวิทยากรทางด้าน Simulation

 

30 สิงหาคม 2564        บรรยายหัวข้อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลอง สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และ

ผู้สูงอายุ จัดโดย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ (online)

 

19 พฤศจิกายน 2564    บรรยายหัวข้อ Interactive Digital Simulation จัดโดย มูลนิธิ Upright Simulation Training Center

(online)

 

10 ธันวาคม 2564         บรรยายหัวข้อ Nursing Simulation and Simulation-based Learning จัดโดย คณะพยาบาลศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

 

18 มีนาคม 2565           บรรยายหัวข้อ Simulation with Virtual Patients: How is Value Added in Nursing Curriculum

During COVID-19 Pandemic จัดโดย สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา สภากาชาดไทย (online)

 

19 พฤษภาคม 2565      กรรมการตัดสินการประกวด Simulation-based Learning Award ครั้งที่ 2 สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่

จัดโดย คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (online)


10 มิถุนายน 2565         บรรยายหัวข้อ Simulation-based Learning in Nursing Curriculum:  Thai Context จัดโดย

ศูนย์ SIRCOP คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (online)

 

16 สิงหาคม 2565         บรรยายหัวข้อ Integrating of the Simulation-based Learning into the Nursing Curriculum:

The Effective Way to Prepare Them Ready for Clinical Practicum จัดโดย ศูนย์ SIRCOP

คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี (online)

 

1 พฤศจิกายน 2565       บรรยายหัวข้อแนวปฏิบัติที่ดีการใช้รูปแบบการจำลองการเรียนการสอน Simulation

จัดโดย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

 

5 พฤศจิกายน 2565      บรรยายหัวข้อ Integrating the Simulation-based Learning into the Nursing Curriculum:

The Effective Way to Prepare Them Ready for Clinical Practicum จัดโดย Zunyi Medical

University, China (online)


12 มกราคม 2566       บรรยายหัวข้อ วิทยาการเทคโนโลยี simulation และปัญญาประดิษฐ์ เพื่อการศึกษาพยาบาล

ในวิถีถัดไป จัดโดย วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี


24 กุมภาพันธ์ 2566     บรรยายหัวข้อ The Future of Nursing Simulation and Its Impact to ICU Practice

จัดโดย Critical Care Nurses Association of the Philippines, The Philippines (online)


18 พฤษภาคม 2566     บรรยายหัวข้อ Sharing Experiences through the Use of Simulation-based Learning

จัดโดย คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช (online)


4 กรกฎาคม 2566      บรรยายหัวข้อ Teaching and Learning Using Simulators Scenario

จัดโดย คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (online)


13-14 กันยายน 2566 วิทยากรโครงการ Simulation Operation Specialist Training Course

จัดโดย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา


17 กันยายน 2566 บรรยายหัวข้อ การสร้างแบบประเมินและการวัดผลการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์เป็นฐานที่มี

ประสิทธิภาพ จัดโดย คณะพยาบาลศาสตร์มิชชั่น มหาวิทยาลัยนานาชาติเอเชีย-แปซิฟิก


22 กันยายน 2566 บรรยายหัวข้อ The Role Changing: From Instructor to Facilitator

จัดโดย INACSL Thailand RIG (online)


8 พฤศจิกายน 2566 บรรยายหัวข้อ Integration of Simulation-based Learning in Undergraduate Curriculum

จัดโดย ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย


25-26 พฤศจิกายน 2566 วิทยากรโครงการ Scenario Writing จัดโดย คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ และ

INACSL Thailand RIG


3 กุมภาพันธ์ 2567 บรรยายหัวข้อ Teaching and Learning Using Simulation Scenario

จัดโดย คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (online)



 
สามารถติดต่อได้ที่

หมายเลขห้องพักในคณะ 29708 ชั้น 7 คณะพยาบาลศาสตร์และวิทยาการสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

38 หมู่ 8 ตำบลนาวุ้ง อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000

Tel: 096-0086-634 E-mail: jackrn12@gmail.com

Contact Information
  • Facebook
  • Twitter

สถิติการเข้าชมเว็บไซต์

ศูนย์ Simulation & Innovation Resource Center of Phetchaburi (SIRCOP)

คณะพยาบาลศาตร์และวิทยาการสุขภาพ 38 หมู่ 8 ตำบลนาวุ้ง อำเภอเมือง จังหวัดเพชรบุรี 76000

Tel: 032-708-622

bottom of page